HomeEconomics

Economics

การค้าระหว่างประเทศ

ปัจจุบันเรามักจะได้ยินคำว่า ปกป้องกันการค้าระหว่างประเทศ (Protectionism) หนาหูขึ้น โดยปกติการป้องกันทางการค้าจะมีเป้าหมายเพื่อช่วยเหลือผู้ผลิตภายในประเทศ

ปริมาณเงิน (Money Supply)

แม้ธนาคารกลางจะมีการพูดถึงปริมาณเงินในระบบไม่บ่อยนัก แต่การทำความรู้จักกับชื่อเรียกปริมาณเงินในนิยามต่างๆ จะทำให้เราทราบแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของเงินในระบบอย่างเข้าใจ

What How For Whom

การตัดสินใจว่า เราควรจะผลิตอะไร ผลิตอย่างไร และผลิตเพื่อใคร เป็นเรื่องของการจัดสรรทรพัยากรการผลิตที่มีอยู่จำกัด เพื่อสนองความต้องการของมนุษย์ที่มีไม่จำกัด อย่างมีประสิทธิภาพ

ต้นทุนคงที่ และ ต้นทุนผันแปร

ต้นทุนเป็นค่าใช้จ่ายซึ่งแทบทุกๆธุรกิจต้องเผชิญและยากที่จะหลีกเลี่ยง ต้นทุนสามารถจำแนกหลักๆได้ 2 ประเภทคือ ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost) และ ต้นทุนผันแปร (Available Cost)

พฤติกรรมที่มีเหตุผล (Rational Behavior)

การเลือกคู่ครองเป็นตัวอย่างที่ดีที่สุดในการยกกรณีศึกษา โดยกรณีนี้จะแตกต่างจากการพิจารณาเลือกซื้อสินค้า เนื่องจากทั้งคู่ต้องเลือกกันด้วย ซึ่งนั่นหมายถึงจะมีปัจจัยทั้งหมดของทั้ง 2 คน เข้ามาเกี่ยวข้องในการตัดสินใจ

ผลผลิตทางการเกษตร

ระบบการตลาดสินค้าเกษตรมีเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา จากความต้องการของผู้บริโภคเปลี่ยนไป จึงส่งผลให้การผลิตเปลี่ยนตามไปด้วย นอกจากนี้ยังมีสินค้าบางชนิดซึ่งต้องการรูปแบบการตลาดเฉพาะ เช่น สินค้ามีการเน่าเสียง่าย

น้ำมัน (Oil)

น้ำมัน (Oil) ถือเป็น สินค้าโภคภัณฑ์หลัก (Core Commoditiy) เนื่องจากเกือบทุกๆกิจกรรมทางการค้าและทางสังคม มีการใช้พลังงานหรือเชื้อเพลิงในแทบทุกกิจกรรม ไม่ว่าจะโดยทางตรง หรือทางออมก็ตาม

สินค้าโภคภัณฑ์ (Commodity)

สินค้าโภคภัณฑ์ (Commodities) หมายถึง สินค้าซึ่งมีการกำหนดมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก และมีราคากลาง ไม่ว่าจะผลิตจากที่ไหนหรือโดยใครก็ตาม เนื่องจากมีมาตรฐานสินค้าเดียวกัน

ตราสารหนี้ (Bond)

ตราสารหนี้ เป็นคำกว้างๆ ซึ่งเรามักจะคุ้นเคยกับคำว่า “พันธบัตร” และ “หุ้นกู้” มากกว่า โดยพันธบัตรมักใช้เรียกตราสารหนี้ที่ออกโดยรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจ ส่วนหุ้นกู้จะถูกเรียกใช้เมื่อออกโดยบริษัทเอกชน

Micro & Macro Economic

เศรษฐศาสตร์ออกเป็น 2 ภาค คือ เศรษฐศาสตร์จุลภาค และเศรษฐศาสตร์มหภาค จากการที่ เคนส์ ได้เสนอการแก้ปัญหาวิกฤติในปี ค.ศ.1936 ผ่านการจัดการด้านอุปสงค์มวลรวม จึงเป็นที่มาของการแบ่งขอบเขตของการศึกษา
Nuwee Luxsanakulton
เป้าหมายของเรา คือการช่วยนักลงทุนให้มีความเข้าใจ ทั้งในด้านปัจจัยพื้นฐาน รวมถึงปัจจัยทางเทคนิค จากประสบการณ์ของอดีตฝ่ายลงทุนต่างประเทศ ปัจจุบันเป็นนักวิเคราะห์แนวโน้มทองคำ (Gold Analyst)

Must Read

แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์

แม้ไม่มีหลักฐานชี้ชัดแต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าเศรษฐศาสตร์นั้น อยู่คู่กับวิถีชีวิตมุนษย์มาตั้งแต่แรก ที่เริ่มอยู่กันเป็นสังคม ผ่านการแบ่งงานกันทำตามความถนัด และการแลกเปลี่ยนสิ่งของ

วัฏจักรเศรษฐกิจ

วัฏจักรเศรษฐกิจ (Economic Cycle) ประกอบด้วย 4 ช่วง คือ ช่วงตกต่ำ ช่วงฟื้นตัว ช่วงรุ่งเรือง และช่วงถดถอย ซึ่งในแต่ละช่วงจะมีสินทรัพย์ที่น่าลงทุนแตกต่างกันไป

การวิเคราะห์ทางเทคนิค

การวิเคราะห์ทางเทคนิคเกิดจากพฤติกรรมราคาที่เกิดขึ้นซ้ำๆ จนคาดการณ์ได้ว่า เมื่อเกิดเหตุการณ์ในลักษณะนี้ ก็มักจะมีเกิดผลแบบนั้นตามมา

ทองคำ (Gold)

ราคาทองคำมีความผันผวนเนื่องจากตอบรับแทบทุกปัจจัยที่เข้ามากระทบ โดยแต่ละปัจจัยจะส่งผลกระทบต่อราคาทองคำแตกต่างกัน

Forex

Spread Swap และ Commission

ต้นทุนในการเทรด Forex จะมีอยู่ 3 ส่วนคือ Spread, Swap และ Commission ซึ่งเป็นค่าบริการหรือค่าธรรมเนียมที่ทางโบรกเกอร์ Forex เรียกเก็บจากผู้ซื้อขาย Forex

Leverage คืออะไร ?

Leverage ถือเป็นปัจจัยหลัก ที่ทำให้การลงทุนในตลาด Forex มีความน่าสนใจ เนื่องจาก Leverage เป็นตัวกำหนดหลักประกัน (Margin) ที่ต้องวางในการซื้อขาย

Lot Size คืออะไร ?

การคำนวนขนาด Lot ในการซื้อขาย Forex จำเป็นต้องพิจาณาถึงปัจจัยหลายอย่าง แต่ปัจจัยที่สำคัญที่สุดในการเทรด Forex คงหนีไม่พ้นความสามารถในการรับความเสี่ยง